วันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557

รับสมัครพนักงานขายข้าวสารจำนวนมากเงินดีทุกวัน

ช่วงเวลา05.00 น.-06.00น.  หุงข้าวใส่ถ้วยขาย ถ้วยละ 5 บาท
ช่วงเวลา 12.00 น.- 13.00 น. หุงข้าวใส่ถ้วยขาย ถ้วยละ 5 บาท
ช่วงเวลา06.00 น. ถึง 06.00 น.(24ช.ม.) ขายข้าวสารทั่วไทย ส่งวันจันทร์และวันพฤหัส   โอเคม่ะ


         ทางโครงการ จำหน่าย ข้าวสุขภาพ เพื่อตั้งโรงสีข้าวชุมชน พื้นที่จังหวัดสิงห์บุรี พิกัดGPSแปลงข้าวสุขภาพไรซ์เบอรี่: 14.907848,100.221913ขอขอบพระคุณท่านที่มีความประสงค์สั่งซื้อ ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างสูง โดยโครงการนี้จะเป็นทางออกให้กับชาวนาไทยต้นแบบในจังหวัดสิงห์บุรี และเราหวังว่าจะเป็นจุดเริ่มต้นเล็กๆ ที่ท่านมีส่วนร่วมในการสนับสนุนโครงการนี้ จะสามารถเป็นตัวอย่างให้กับชาวนาไทยอีกจำนวนมากได้เข้าสู้AEC
      ท่านสามารถสั่งซื้อได้ตามที่ต้องการ โดยสามารถรับสินค้าได้ตามจุดรับสินค้า ซึ่งเรากำลังติดต่อสถานที่อยู่ ดังนั้นในช่วงต้นของโครงการนี้ หากซื้อข้าวไรซ์เบอร์รี่ ปลอดสารพิษ ราคากิโลกรัมละ 90 บาท(35ถุงฟรี3ถุงฟรีค่าจัดส่ง) ถ้ามีจำนวนคุยกัน
  • จำนวน 1-40ถุง จะขออนุญาตจัดส่งทางไปรษณีย์ 2-3วันพร้อมหุงทาน โดยขอเก็บค่าจัดส่งตามจริงกรณีไม่มีโปรโมชั่นเดือนนั้นๆ (รวมค่ากล่องและค่าส่งพัสดุภายในประเทศ)
  • หากอยู่ในเขตต่างจังหวัดที่มีรัศมีไม่เกิน 80 กม. จากสิงห์บุรี กรุณาสั่งซื้อขั้นต่ำ 38 ถุงขึ้นไป และรอนัดหมายในการจัดส่งรถบริษัทผ่าน
  • การจัดส่งโดยรถบริษัท 2,000ถุง ถึง 3,500ถุงทั่วประเทศไทยแค่บอกพิกัดใกล้วัด-โรงเรียนรัศมีห่าง50-100เมตร
ท่านต้องการสั่งซื้อ จำนวน ......... ถุง (ถุงละ 1 กิโลกรัม) ราคาถุงละ90 บาท ถ่ายรูปใบเสร็จส่งทางอีเมล์ prajob_200000@yahoo.co.th
บัญชีที่โอนเงินคือ ธนาคารกสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขาตลาดซัณสูตรบางระจัน ชื่อบัญชี นาย ประจบ เมืองมั่น เลขที่ 304-2-26419-8
 ด้วยความนับถืออย่างสูง
ประจบ  เมืองมั่น 
ผู้เชี่ยวชาญนาข้าว 0วันถึง 120 วัน  โทร.087-9181-778
สนทนาเรื่องนาข้าว:http://www.0879181778.blogspot.com 


แนวทางการเปิดร้านจำหน่ายข้าวสาร

1. เลือกทำเลที่ตั้งร้านค้า

2. สำรวจกลุ่มลูกค้า และจำแนกประเภทลูกค้า เพื่อกำหนดวิธีเข้าถึงกลุ่มลูกค้านั้นๆ

3. สำรวจคู่แข่ง ทั้งทางด้านทำเลที่ตั้ง ชนิดสินค้า รวมถึงข้อได้เปรียบ เสียเปรียบ และนำมาวิเคราห์ เปรียบเทียบกับของเรา 4. ศึกษา และหาข้อมูลประเภทข้าวสาร ของแต่ละกลุ่มลูกค้าที่ใช้5. ตั้งงบประมาณ6. ติดต่อร้านค้าส่งข้าวสาร7. ประเมินความต้องการชนิดข้าวสาร ของแต่ละกลุ่มลูกค้า จากข้อมูลจริง อีกครั้ง เพื่อลดอัตราเสี่ยงจากการลงทุนที่ได้ประโยชน์น้อย8. สั่งข้าวสารงวดถัดไปตามข้อมูลที่ได้ 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น